Muwatin
  • Home
  • การเกษตร
    • การเพาะปลูก
    • Dissolved Oxygen
    • การปลูกพืชไร้ดิน
  • เครื่องวัดอุตสาหกรรม
    • อุปกรณ์บันทึกข้อมูล
    • กลศาสตรของไหล
    • อินฟาเรด
    • อุณหภูมิ
    • การตรวจชื้น
    • การวัดความหนา
    • ความหวาน
    • revolutions per minute
    • ความเร็วของลม
    • เครื่องมือช่าง
    • ความดังเสียง
    • แสงสว่าง
  • เครื่องวัดคุณภาพน้ำ
    • ความรู้ทางเคมี
    • โออาร์พี
    • ค่าความเป็นกรด-ด่าง
    • ของแข็งที่ละลายในน้ำ
    • กระดาษทดสอบพีเอช
    • คลอรีน
    • ความขุ่น
    • กลศาสตรของไหล
    • Salinity
    • คอนดักติวิตี้ของน้ำ
    • คุณภาพน้ำ
    • Dissolved Oxygen
  • Sitemap
No Result
View All Result
  • Home
  • การเกษตร
    • การเพาะปลูก
    • Dissolved Oxygen
    • การปลูกพืชไร้ดิน
  • เครื่องวัดอุตสาหกรรม
    • อุปกรณ์บันทึกข้อมูล
    • กลศาสตรของไหล
    • อินฟาเรด
    • อุณหภูมิ
    • การตรวจชื้น
    • การวัดความหนา
    • ความหวาน
    • revolutions per minute
    • ความเร็วของลม
    • เครื่องมือช่าง
    • ความดังเสียง
    • แสงสว่าง
  • เครื่องวัดคุณภาพน้ำ
    • ความรู้ทางเคมี
    • โออาร์พี
    • ค่าความเป็นกรด-ด่าง
    • ของแข็งที่ละลายในน้ำ
    • กระดาษทดสอบพีเอช
    • คลอรีน
    • ความขุ่น
    • กลศาสตรของไหล
    • Salinity
    • คอนดักติวิตี้ของน้ำ
    • คุณภาพน้ำ
    • Dissolved Oxygen
  • Sitemap
No Result
View All Result
Muwatin.org
No Result
View All Result
Home คอนดักติวิตี้ของน้ำ

รู้จักค่า Conductivity ของน้ำ

ค่า Conductivity ของน้ำ

สิ่งมีชีวิตทุกชนิดล้วนเกี่ยวข้องกับน้ำ และใช้น้ำในการดำรงชีวิตทั้งสิ้น โดยเฉพาะโลกนี้ที่มีน้ำมากกว่าแผ่นดินด้วยซ้ำ ดังนั้นน้ำจึงเป็นสิ่งสำคัญมากในการหล่อเลี้ยงสิ่งมีชีวิตทุกชีวิตบนโลก และในน้ำ หลายคนมองว่ามันคือน้ำ H2O ที่ไม่มีอะไรมาปน แต่ในความเป็นจริงแล้วในน้ำได้ละลายหลายอย่างจนกลายเป็นน้ำที่เราใช้กินหรือใช้ดำรงชีวิตในทุก ๆ วัน ที่สำคัญความสามารถของน้ำนั้นมีมากมาย ที่ทำให้สิ่งมีชีวิตได้ประโยชน์จากน้ำ เช่นการใช้ความสามารถของการละลายสิ่งต่าง ๆ ของน้ำ ที่ทำได้ดีกว่าของเหลวอื่น ๆ แต่แน่นอนว่าไม่ใช่น้ำทุกชนิดจะมีประโยชน์หรือมีคุณภาพเสมอไป

 

เพราะเราต่างคุ้นเคยกับน้ำเสีย หรือน้ำเน่ากันไม่มากก็น้อยดังนั้นเราจึงต้องพูดถึงคุณภาพของน้ำ ซึ่งหนึ่งในการวัดว่าน้ำมีคุณภาพหรือไม่ก็คือ ค่า Conductivity (อ่านว่าคอนดั๊กติวิตี้) หรือค่าความนำไฟฟ้าของน้ำนั่นเอง

 

ค่า Conductivity ของน้ำคือความสามารถของน้ำที่ทำให้กระแสไฟฟ้าผ่านไป ความสามารถนี้เกี่ยวข้องโดยตรงกับจากเกลือและวัสดุอนินทรีย์ที่ละลายน้ำเช่นคลอไรด์ ซัลไฟด์ และสารประกอบคาร์บอเนต น้ำกลั่นหรือน้ำปราศจากไอออนเป็นฉนวนมีค่าการนำไฟฟ้าที่ต่ำมาก

 

ดังนั้นการวัดค่านำไฟฟ้าของน้ำหรือค่าคอนดั๊กติวิตี้ ของน้ำสำคัญต่อการเลือกน้ำไปใช้ในงานต่าง ๆ ตั้งแต่เรื่องของการใช้ การกินดื่มทำอาหารไปจนกระทั่งการใช้น้ำในการทำปศุสัตว์หรือการใช้น้ำในโรงงานอุตสาหกรรม แต่เราควรต้องรู้ก่อนว่ามาตรฐานคุณภาพค่า conductivity ของน้ำมีอะไรบ้าง

หน่วยการวัด Conductivity

หน่วย SI (International Systems of Units) ของค่าคอนดั๊กติวิตี้คือซีเมนส์ต่อเมตร (S/m)

ถึงแม้ว่าหน่วย SI คือซีเมนส์ต่อเมตร (S/m) แต่ในทางปฎิบัตินี้ในน้ำไม่สูงมากนักจึงนิยมใช้เป็นไมโครซีเมนส์/เซ็นติเมตร (µS/cm) และค่านี้จะเพิ่มขึ้นจริงเมื่ออุณหภูมิของน้ำเพิ่มขึ้น ดังนั้น EC มักจะถูกบันทึกที่ 25°C โดยมีอุณหภูมิและ EC พร้อมกัน หน่วยวัดอื่นสำหรับ EC คือ mS/cm หรือมิลลิซีเมนส์ต่อเซนติเมตร 1 mS/cm = 1000 µS/cm

มาตรฐานคุณภาพน้ำการนำไฟฟ้าเป็นมาตรการและวัดในระดับจาก 0 ถึง 50,000 uS/cm ค่าการนำไฟฟ้าวัดใน microsiemens ต่อเซนติเมตร น้ำจืดมักจะอยู่ระหว่าง 0 ถึง 1,500 uS/cm และน้ำทะเลทั่วไปมีค่าการนำไฟฟ้าประมาณ 50,000 uS/cm นั่นเอง และค่านำไฟฟ้าของน้ำในการใช้สำหรับกินดื่มหรือใช้สำหรับปศุสัตว์จะอยู่ที่ 0-800 uS/cm ซึ่งตัวเลขนี้เป็นน้ำที่มีคุณภาพมาก ๆ ซึ่งหากค่าการนำไฟฟ้าของน้ำมากกว่า 800 แต่ไม่เกิน 2,500 uS/cm ก็ถือว่าใช้กินดื่มได้ใช้สำหรับการทำปศุสัตว์ได้และเหมาะกับชลประทานแต่หากมากกว่า 2,500 uS/cm แล้วละก็จะเป็นน้ำที่ไม่แนะนำสำหรับการบริโภคสำหรับมนุษย์เลย

 

ดังนั้นไม่ว่าจะชลประทานงานปศุสัตว์หรือโรงงานที่ต้องควบคุมคุณภาพน้ำ ก็มักจะต้องวัดค่าการนำไฟฟ้าของน้ำอย่างสม่ำ ๆ ซึ่งเครื่องที่ใช้วัดค่าการนำไฟฟ้าของน้ำก็คือเครื่อง EC METER และเครื่องมือเหล่านี้ก็มีความสามารถเฉพาะตัวที่ไม่เหมือนกัน ทั้งการใช้วัดน้ำดื่มหรือสำหรับปศุสัตว์และโรงงานที่สำคัญมีหลายประเทศที่ผลิตเครื่อง EC METER และราคาที่ต่างกัน ดังนั้นหากจะซื้อเครื่องวัด EC METER ควรศึกษาข้อมูล ความต้องการในการใช้งานอย่างดีก่อน

 

ปัจจัยที่มีผลต่อค่าการนำไฟฟ้าของน้ำ

  • ประเภทของสารที่ละลายเป็นน้ำ
  • อุณหภูมิ
  • ความเข้มข้นของไอออนในสารละลายมีอยู่ (จำนวนอิออนยิ่งสูง ค่าการนำไฟฟ้ายิ่งสูง)

 

ทำไมน้ำบริสุทธ์ไม่นำไฟฟ้า

น้ำบริสุทธิ์เนื่องจากไม่มีไอออนน้ำจึงไม่นำไฟฟ้า ในขณะที่น้ำประปามีไอออนเช่นแมกนีเซียม (II) แคลเซียม (II) ฯลฯ ซึ่งนำไฟฟ้า แม้แต่น้ำฝนบางครั้งก็มีไอออน (เนื่องจากลักษณะที่เป็นกรดของฝนเนื่องจากมลพิษในอากาศ)

 

ประโยชน์ของค่าคอนดั๊กติวิตี้

การนำไฟฟ้าสามารถใช้เป็นพารามิเตอร์สำหรับวัดคุณภาพน้ำได้ สามารถใช้ตรวจสอบความเค็มของน้ำระหว่างการบำบัดน้ำได้ อุตสาหกรรมบางอย่างต้องการน้ำบริสุทธิ์สูงเช่นในห้องปฏิบัติการวิจัย นอกจากนี้ยังสามารถตรวจจับมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม เช่น การไหลบ่าของการเกษตร ฝนกรด ฯลฯ ได้ด้วยการวัดค่าการนำไฟฟ้าของตัวอย่าง

ใส่ความเห็น ยกเลิกการตอบ

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

Recommended.

ขั้นตอนการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

ขั้นตอนการปลูกผักไฮโดรโปนิกส์

7 เมษายน 2022
รู้จัก pH buffer คือ

รู้จัก pH buffer คือ

29 มีนาคม 2022

Trending.

รู้จักค่าความเค็มคืออะไรและวิธีการตรวจวัด

รู้จักค่าความเค็มคืออะไรและวิธีการตรวจวัด

19 เมษายน 2022
แอนนิโมมิเตอร์ประโยชน์

ประโยชน์ของแอนนิโมมิเตอร์

21 เมษายน 2022
ค่า TDS เลี้ยงปลาพารามิเตอร์สำคัญของน้ำ

ค่า TDS เลี้ยงปลาพารามิเตอร์สำคัญของน้ำ

10 เมษายน 2022
ความเค็ม ppt คือ

ความเค็ม ppt คือ

19 เมษายน 2022
การเลือก CFM พัดลม

การเลือก CFM พัดลมดูดอากาศและการตรวจวัด

22 เมษายน 2022
  • ความรู้ทางเคมี
  • อุปกรณ์บันทึกข้อมูล
  • โออาร์พี
  • ของแข็งที่ละลายในน้ำ
  • กระดาษทดสอบพีเอช
  • การวัดความหนา
  • revolutions per minute
  • คลอรีน
  • ความขุ่น
  • การตรวจชื้น
  • กลศาสตรของไหล
  • ความหวาน
  • Salinity
  • ความเร็วของลม
  • คอนดักติวิตี้ของน้ำ
  • ค่าความเป็นกรด-ด่าง
  • คุณภาพน้ำ
  • การเพาะปลูก
  • Dissolved Oxygen
  • อินฟาเรด
  • อุณหภูมิ
  • เครื่องมือช่าง
  • ความดังเสียง
  • แสงสว่าง
  • การปลูกพืชไร้ดิน

© 2022 Muwatin ศูนย์รวมข้อมูลความรู้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ www.tools.in.th



No Result
View All Result
  • Home
  • Dissolved Oxygen
  • revolutions per minute
  • กระดาษทดสอบพีเอช
  • กลศาสตรของไหล
  • การปลูกพืชไร้ดิน
  • การวัดความหนา
  • การเพาะปลูก
  • ของแข็งที่ละลายในน้ำ
  • คลอรีน
  • ความขุ่น
  • การตรวจชื้น
  • ความดังเสียง
  • ความรู้ทางเคมี
  • ความหวาน
  • Salinity
  • ความเร็วของลม
  • คอนดักติวิตี้ของน้ำ
  • ค่าความเป็นกรด-ด่าง
  • คุณภาพน้ำ
  • อินฟาเรด
  • อุณหภูมิ
  • อุปกรณ์บันทึกข้อมูล
  • เครื่องมือช่าง
  • แสงสว่าง
  • โออาร์พี
  • Sitemap

© 2022 Muwatin